รุ่น LB35 III LB45 III ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางขึ้นรูปสูงสุด mm 460 660 ความยาวขึ้นรูปสูงสุด 600 - 2, 000 500 - 4, 000 ความเร็วรอบแกนหลัก min 3, 200 2, 800 ชนิดแท่นมีด V12 มอเตอร์สำหรับแกนหลัก kW 30/22 37/30 ขนาดพื้นที่ที่ต้องการ 3, 995 × 2, 663 5, 895 × 2, 663 4, 240 × 3, 145 8, 550 × 3, 181 สเปค M M สเปคขึ้นรูปหลายภารกิจ
  1. Nutmaster_ro: เครื่องกลึง
  2. หลักการทำงานของเครื่องกลึง , หน้าที่ของส่วนต่างๆของเครื่องกลึง - machine (เครื่องจักร)
  3. 11.1 ส่วนประกอบเครื่องกลึง - หน่วยที่ 11 การศึกษาและปฏิบัติ งานเครื่องกลึง

Nutmaster_ro: เครื่องกลึง

หลักการทำงานของเครื่องกลึง , หน้าที่ของส่วนต่างๆของเครื่องกลึง - machine (เครื่องจักร)

รูปเครื่องกลึง

11.1 ส่วนประกอบเครื่องกลึง - หน่วยที่ 11 การศึกษาและปฏิบัติ งานเครื่องกลึง

  1. ติด ฟ้า บ้าน 2
  2. On demand สาขา ระยอง tv
  3. สารคดี สำรวจโลก ตอน การเดินทางของหมีขั้วโลก - EduBright - Free E-learning archive
  4. ภ งด 91 90 x
  5. ปวด หัว ทุก วัน เพราะ อะไร
  6. Iso 9003 คือ software
  7. What is เครื่องกลึง??: ชนิดของเครื่องกลึง
  8. ดาวน์โหลดและเล่น Subway Surfers บนพีซีและแมค (อีมูเลเตอร์)

1. ฐานเครื่อง (Base) เป็นส่วนที่อยู่ล่างสุดของเครื่อง จะอยู่กับพื้นโรงงานโดยมีฐานรองเครื่องรองรับอยู่เพื่อสะดวกในการปรับระดับ ทำหน้าที่รองรับน้ำหนักทั้งหมดของเครื่อง เครื่องขนาดใหญ่ทำด้วยเหล็กหล่อจะทำให้เครื่องมั่นคงไม่สั่นสะเทือน ถ้าเป็นเครื่องขนาดเล็กอาจจะทำด้วยเหล็กเหนียว 2. แท่นเครื่อง (Bed Ways) เป็นส่วนที่ยึดติดอยู่บนฐานเครื่อง ทำด้วยเหล็กหล่อ ทำหน้าที่รองรับชุดหัวเครื่อง ชุดท้ายแท่น และชุดแท่นเลื่อน ที่สันบบนแท่นเครื่องจะมีลักษณะเป็นรูปตัววีคว่ำ เพื่อใช้เป็นรางเลื่อนให้ชุดแท่นเลื่อน และชุดท้ายแท่นเลื่อนไปมา 3. ชุดหัวเครื่อง (Heab Stock) อยู่ตรงด้านซ้ายของเครื่อง ภายในประกอบด้วยชุดเฟืองทดใช้สำหรับเปลี่ยนความเร็วรอบ และเปลี่ยนอัตราป้อนกลึง เพื่อส่งกำลังไปยยังแกนเพลาและชุดเฟืองขับต่างๆ เพื่อกลึงอัตโนมัติ และกลึงเกลียว 4. แกนเพลาเครื่องกลึง(Spindle) มีลักษณะเป็นเพลากลม ภายในเป็นรูกลวงเป็นเรียวมาตรฐานมอส เพื่อใช้ประกอบกับยันศูนย์เพื่อใช้กลึงยันศูนย์หัวเครื่องและศูนย์ท้ายแท่นแกนเพลาเครื่องกลึงใช้ประกอบกับหัวจับแบบต่างๆ เช่น สามจับและสี่จับ การจับยึดมีหลายวิธีดังนี้ คือ การจับยึดด้วยเกลียว (Thread) การจับยึดด้วยเรียว (Taper Key) การจับยึดด้วยลูกเบี้ยว (Cam-LocK) และการจับยึดด้วยเกลียวร้อยยึด (Bolted) 5.

2 ส่วนประกอบของแท่นเลื่อน 1. 3 ชุดยันศูนย์ท้าย (Tail Stock) ชุดยันศูนย์ท้ายแท่นทำหน้าที่ประคองชิ้นงานโดยการใช้ยันศูนย์หรือเจาะชิ้นงานโดยใช้อุปกรณ์อื่นช่วย เช่น หัวจับดอกสว่าน ชุดยันศูนย์ท้าย สามารถเลื่อนไป - มาได้บนรางเลื่อนแท่นเครื่องกลึง ภาพที่ 1. 3 ชุดยันศูนย์ท้ายแท่น 1. 4 ฐานเครื่องกลึง (Bed) ฐานเครื่อง ผลิตขึ้นจากเหล็กหล่อสีเทา (Gray Cost Iron) เพราะมีคุณสมบัติรับแรงสั่นสะเทือนได้ดี ทำหน้าที่รองรับส่วนประกอบทั้งหมดของตัวเครื่องกลึง ได้แก่หัวเครื่อง ชุดแท่นเลื่อน และชุดยันศูนย์ท้าย 1. 5 ระบบป้อน (Feed Mechanism) ชุดระบบป้อนเป็นชุดที่มีความสัมพันธ์กับระบบส่งกำลัง ใช้กลึงอัตโนมัติซึ่งประกอบด้วยส่วนต่างๆ คือ ชุดเฟืองป้อน เพลานำ และเพลาป้อน แต่ละส่วนจะทำงานสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกัน ดังรูปที่ 1. 4 และ 1. 5 ภาพที่ 1. 4 ส่วนประกอบของชุดระบบป้อน ภาพที่ 1. 4. 5 แขนโยกชุดเฟืองป้อน 1. 6 ชุดเฟืองป้อน (FEED GEAR) ใช้สำหรับทดส่งกำลังไปให้เพลานำและเพลาป้อนในการกลึงอัตโนมัติ เพลานำใช้สำหรับกลึงเกลียว เพลาป้อนใช้สำหรับกลึงปอกผิวอัตโนมัติ ชุดเฟืองป้อนมี 2 แบบ ได้แก่ ดังรูปที่ 1. 6 และ 4. 7 1. 6. 1 แบบเปิด (Open Type) เป็นชุดเฟืองที่อยู่ภายนอก เป็นเฟืองแบบเก่าใช้มานานแล้ว ( ดังรูปที่ 1.

Tuesday, 20-Sep-22 18:10:06 UTC